
ชื่อ : นางสาวอัญชิสา เรืองพูล
รหัสนักศึกษา 5641060002 กลุ่ม 56/10
กำลังศึกษา ชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์ เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี
ที่
|
รูปแบบการสอน
|
ขั้นตอนการสอน
| ||
1
|
Constructionism
|
1. Explore
การสำรวจตรวจค้น ในขั้นตอนนี้บุคคลจะเริ่มสำรวจตรวจค้นหรือพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งใหม่ (assimilation)ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้พบหรือ ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่ไม่มีอยู่ในสมองของตน ก็จะพยายามรับหรือดูดซึมเก็บเข้าไปเป็นความรู้ใหม่
|
2. Experiment
การทดลอง ในขั้นตอนนี้จะเป็นการทดลองทำภายหลังจากที่มีการสำรวจไปแล้ว เป็นการปรับ
ความแตกต่าง(accommodation) เมื่อได้พบหรือปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่สัมพันธ์กับความคิดเดิมที่มีอยู่ในสมอง นั่นหมายความว่าเริ่มจะปรับความแตกต่างระหว่างของใหม่กับของเดิมจนเกิดความเข้าใจว่าควรจะทำอย่างไรกับสิ่งใหม่นี้
|
3. Learning by doing
การเรียนรู้จากการกระทำ ขั้นนี้เป็นการลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือการได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่มีความหมายต่อตนเอง แล้วสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเองขึ้นมา ซึ่งจะคาบเกี่ยวกับขั้นตอนที่ผ่านมา ขั้นนี้จะเกิดทั้งการดูดซึม (assimilation) และ การปรับความแตกต่าง(acommodation)ผสมผสานกันไป
|
2
|
Biggs 3P Model
|
1. ครูนำ เสนอบทเรียนในขั้นนำ เสนอ (P1 = Presentation)โดยนำ เสนอเป็นรูปประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร (Whole Language) ไม่แยกสอนเป็นคำ ๆ นักเรียนจะเข้าใจภาษานั้นโดยภาพรวม หลีกเลี่ยงการแปลคำ ต่อคำ การนำ เสนอต้องชัดเจน และตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจสิ่งที่ครูนำ เสนอนั้น
|
2.ครูใช้กิจกรรมในขั้นฝึก (P2=Practice)อย่างหลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ฝึกหัดและพูดในกลุ่มใหญ่ (Whole Group)ก่อน เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษา ฝึกกลุ่มย่อยโดยใช้
การฝึกลูกโซ(Chain Drill) เพื่อให้โอกาสนักเรียนได้สื่อสารทุกคน ฝึกคู่ (Pair Work) เปลี่ยนกันถาม-ตอบ เพื่อสื่อสารตามธรรมชาติแล้วจึงให้นักเรียนฝึกเดี่ยว (Individual) โดยฝึกพูดกับครูทีละคน การฝึกเดี๋ยวนี้ครูจะเลือกนักเรียนเพียง 2-3 คน เพื่อทำ เป็นตัวอย่างในแต่ละครั้ง กิจกรรมขั้นนี้ใช้เวลา แต่นักเรียนจะได้ปฏิบัติจริง ครูเพียงแต่คอยกำ กับดูแลให้การฝึกดำ เนินไปอย่างมีความหมายและสนุก
|
3. กิจกรรมขั้นนำ เสนอผลงาP3 (Production) เป็นขั้นที่นักเรียนจะนำ ภาษาไปใช้ ครูอาจจะให้ทำ แบบฝึกหัด อ่านและเขียนร้องเพลงหรือเล่นเกม ที่สืบเนื่องและเกี่ยวข้องกับภาษาที่เรียนมาในขั้นที่ 1 และ 2 อาจให้ทำ งานเป็นการบ้านหรือสร้างสรรค์ผลงาน
|
3
|
SU learning Model
|
1.ผู้เรียนกำหนดกรอบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง ด้วยการระบุ ความรู้และการปฏิบัติโดยระบุความรู้ ในรูปของสารสนเทศหรือdeclarative knowledgeและระบุทักษะ การปฏิบัติ(โครงงาน งานภาระงาน)
กลยุทธ์ ทักษะ หรือกระบวนการหรือ procedural knowledgeและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
|
2.ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ และระบุเกณฑ์คุณภาพวัตถุประสงค์การเรียนรู้เป็นค่าระดับตามโครงสร้างการสังเกตผลการเรียนรู้ (structure of observed learning out-comes:
SOLO Taxonomy
|
กรณีที่วัตถุประสงค์เป็นความรู้ความเข้าใจ จะระบุเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน(collaborative learning)
หรือการเรียนรู้แบบนำตนเอง(self-directed learning)โดยคำนึงถึงความมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้เรียนต้องการการเรียนรู้แบบการมีความคิดวิจารณญาณ จำเป็นจะต้องใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน(cooperative learning)มีการอภิปรายเรื่องราวที่เรียนรู้ กลยุทธการเรียนรู้แบบท างานเป็นทีม หรือกลยุทธการเรียนรู้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์
|
4
|
DRU Model
|
1. P= Planning การวางแผน
D = Design การออกแบบและการพัฒนา
C = Cognitive network
ความรู้ความกระจ่างชัด
A= Affective network
การเรียนรู้จากเพื่อนร่วม วิชาชีพ
|
2. C= Cognitive network ความรู้ความกระจ่างชัด
L = Learning การเรียนรู้
M = Management
การจัดการ,การควบคุม
S = Strategic network
(กลวิธี)
|
3. A = Assessment
(การประเมินค่า)
S = Strategic network (กลวิธี)
A= Affective network
(การเรียนรู้จากเพื่อนร่วม
วิชาชีพ)
E = Evaluation
(การประเมินผล)
|
5
|
SNN Model
|
กำหนดจุดประสงค์
- ความรู้
-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- จิตวิทยาศาสตร์
|
กิจกรรมภาระงาน
- กิจกรรมเพื่อให้รู้จุดประสงค์การเรียนรู้
-เสาะหาหรือสืบค้นเพื่อบรรลุกิจกรรม
- นำเสนอ และ วิพากษ์
|
วัดผล
- ตรวจสอบทบทวนตัวเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
-ประเมินตนเองในความรู้ กระบวนการและจิตวิทยาศาสตร์
-การตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง
|
รูปแบบการสอนแบบเดิม (9-20 ม.ค60)
|
Model SNN
|
ขั้นนำ
ผู้สอนกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ และใช้คำถามกระตุ้นความสนจู้เรียน เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
|
S = Standard
-ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ระบบสุริยะ ในอินเตอร์เน็ตและหนังสือเรียน
|
ขั้นสอน
ผู้สอนมีวิดิโอ เกมส์ ใบกิจกรรม สื่อการสอน ที่เหมาะสมใช้ในการเรียนการสอน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง
|
N = Networking
1.ให้นักเรียนทุกคนในกลุ่มทำออกมาเขียนหน้ากระดาน ว่าระบบสุริยะประกอบด้วยดาวเคราะห์กี่ดวง โดยให้นักเรียน ออกแบบกิจกรรมเอง เพื่อวัดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาที่นักเรียนได้ศึกษา
2.ครูพร้อมนักเรียนให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ มีทั้งหมด 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
3.ครูและนักเรียนลงข้อสรุป และร่วมกันอภิปราย เพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้มา
|
ขั้นสรุป
ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้กับผู้เรียนด้วยกันและได้นำความรู้ที่ได้ ไปถามผู้รู้เรื่องนั้นๆ หรือถามผู้สอน ผู้สอนสังเกตและประเมินผลการเรียนการสอนว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่
|
N = No child left behind
-ให้นักเรียนระดมความคิดแยกเป็นดาวแต่ละดวง โดยครูเป็นผู้ดูแลการจัดกลุ่ม การนำเสนอข้อมูล โดยที่ไม่ทิ้งเด็กไว้ตามลำพัง แต่จะคอยเป็นเสมือนผู้ช่วย
|